วันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

สระ

เสียงสระในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ สระเดี่ยว สระประสม และสระเกิน สะกดด้วยรูปสระพื้นฐานหนึ่งตัวหรือหลายตัวร่วมกัน
สระเดี่ยว หรือ สระแท้ คือสระที่เกิดจากฐานเพียงฐานเดียว มีทั้งสิ้น 18 เสียง

ลิ้นส่วนหน้า
ลิ้นส่วนหลัง
ปากเหยียด
ปากเหยียด
ปากห่อ
สั้น
ยาว
สั้น
ยาว
สั้น
ยาว
ลิ้นยกสูง
ลิ้นกึ่งสูง
อะ
ลิ้นกึ่งต่ำ
าะ
ลิ้นลดต่ำ

สระประสม คือสระที่เกิดจากสระเดี่ยวสองเสียงมาประสมกัน เกิดการเลื่อนของลิ้นในระดับสูงลดลงสู่ระดับต่ำ ดังนั้นจึงสามารถเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "สระเลื่อน" มี 3 เสียงดังนี้
  • เ–ีย ประสมจากสระ อี และ อา
  • เ–ือ ประสมจากสระ อือ และ อา
  • –ัว ประสมจากสระ อู และ อา
ในบางตำราจะเพิ่มสระสระประสมเสียงสั้น คือ เ–ียะ เ–ือะ –ัวะ ด้วย แต่ในปัจจุบันสระเหล่านี้ปรากฏเฉพาะคำเลียนเสียงเท่านั้น เช่น เพียะ เปรี๊ยะ ผัวะ เป็นต้น

สระเกิน คือสระที่มีเสียงของพยัญชนะปนอยู่ มี 8 เสียงดังนี้
  • –ำ ประสมจาก อะ + ม (อัม) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาม)
  • ใ– ประสมจาก อะ + ย (อัย) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาย)
  • ไ– ประสมจาก อะ + ย (อัย) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาย)
  • เ–า ประสมจาก อะ + ว (เอา) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาว)
  • ฤ ประสมจาก ร + อึ (รึ) บางครั้งเปลี่ยนเป็น (ริ) หรือ (เรอ)
  • ฤๅ ประสมจาก ร + อือ (รือ)
  • ฦ ประสมจาก ล + อึ (ลึ)
  • ฦๅ ประสมจาก ล + อือ (ลือ)

บางตำราก็ว่าสระเกินเป็นพยางค์ ไม่ถูกจัดว่าเป็นสระ
สระบางรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกด จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระ

1. คำที่สะกดด้วย –ะ + ว นั้นไม่มี เพราะซ้ำกับ –ัว แต่เปลี่ยนไปใช้ เ–า แทน
2. คำที่สะกดด้วย –อ + ร จะลดรูปเป็น –ร ไม่มีตัวออ เช่น พร ศร จร ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ โ–ะ ดังนั้นคำที่สะกดด้วย โ–ะ + ร จึงไม่มี
3. คำที่สะกดด้วย เ–อ + ย จะลดรูปเป็น เ–ย ไม่มีพินทุ์อิ เช่น เคย เนย เลย ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ เ– ดังนั้นคำที่สะกดด้วย เ– + ย จึงไม่มี
4. พบได้น้อยคำเท่านั้นเช่น เทอญ เทอม
5. มีพยัญชนะสะกดเป็น ย เท่านั้น เช่น ไทย ไชย

สระเสียงสั้น
สระเสียงยาว
สระเกิน
ไม่มีตัวสะกด
มีตัวสะกด
ไม่มีตัวสะกด
มีตัวสะกด
ไม่มีตัวสะกด
มีตัวสะกด
–¹
(ไม่มี)
(ไม่มี)
ือ
––
(ไม่มี)
––
, –
–, –
––
ฤๅ
(ไม่มี)
––
––
, –
–, –
าะ
็อ
–²
ฦๅ
(ไม่มี)
ัวะ
(ไม่มี)
ัว
ียะ
(ไม่มี)
ีย
ีย
ือะ
(ไม่มี)
ือ
ือ
อะ
(ไม่มี)
–³,

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น